รายชื่อวัตถุเสพติดและสารตั้งต้น


รายชื่อสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ที่ใช้ลักลอบผลิตยาเสพติด


สาระสำคัญ  การควบคุมสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ที่สามารถนำมาใช้ในการลักลอบผลิตยาเสพติด เป็นแนวทางการดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเพื่อเอาชนะยาเสพติด เป็นการดำเนินงานเพื่อป้องกันการรั่วไหลของสารเคมีไปสู่ขบวนการลักลอบผลิตยาเสพติด อาทิ ยาบ้า ยาอี เฮโรอีน เป็นต้น ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้สารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ในปริมาณมาก เพื่อใช้ในขบวนการลักลอบผลิตยาเสพติดดังกล่าว เคมีภัณฑ์บางชนิดมีการใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมที่ถูกกฎหมายอย่างแพร่หลาย ซึ่งก็สามารถนำไปใช้ในการลักลอบผลิตยาเสพติดได้เช่นกัน ดังนั้น มาตรการควบคุมสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์จะต้องดำเนินงานอย่างเข้มงวด เพื่อป้องกันการรั่วไหลไปสู่การผลิตยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย และจะต้องไม่มีผลกระทบ หรือมีผลกระทบน้อยที่สุด กับภาคอุตสาหกรรมที่ถูกกฎหมาย

การควบคุมสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ ตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการค้ายาเสพติดให้โทษ และวัตถุออกฤทธิ์ที่ผิดกฎหมาย ค.ศ.1988 ในมาตรา 12 กล่าวถึงสารเคมีที่นิยมใช้ในการลักลอบผลิตวัตถุเสพติด กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องดำเนินการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการรั่วไหลของสารเคมี ตามที่ระบุไว้ 23 ชนิด จำแนกออกเป็น 2 ตาราง (Table) ตาราง 1 หมายถึงสารตั้งต้น และตาราง 2 หมายถึงเคมีภัณฑ์จำเป็น โดยสารเคมีในตาราง 1 เป็นสารตั้งต้นซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการผลิตวัตถุเสพติด จะมีมาตรการควบคุมเข้มงวดกว่าสารเคมีในตาราง 2 มีรายชื่อสารเคมีที่ควบคุม ดังต่อไปนี้


ตารางที่ 1. สารตั้งต้น


ที่

ชื่อสารเคมี

กฎหมายที่ควบคุม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

การนำไปใช้ในทางที่ผิด

1

อาเซติค แอนไฮไดรด์
ACETIC ANHYDRIDE         

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต Heroin

2

เอ็น-อาเซติลแอนทรานิลิค อาซิด N-ACETYLANTHRANILIC ACID

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต Methaqualone

3

4-อะนิลิโน-เอ็น-เฟนเอทิลไพเพอริดีน 4-Anilino-N-phenethylpiperidine (ANPP)

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต Fentanyl

4

อีเฟดรีน EPHEDRINE

พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559

(วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

5

เออร์โกเมทรีน ERGOMETRINE

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต LSD

6

เออร์โกตามีน ERGOTAMINE

พรบ.วัตถุออกฤทธฺ์ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต LSD

7

ไอโซซาฟรอล ISOSAFROLE

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)

8

ไลเซอร์จิค อาซิด LYSERGIC ACID พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต LSD

9

3,4-เอ็มดีพี-2-พี เมทิล ไกลซิเดต 3,4-MDP-2-P methyl glycidate

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)

10

3,4-เอ็มดีพี-2-พี เมทิล ไกลซิดิค อาซิด 3,4-MDP-2-P methyl glycidic acid

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)

11

3,4-เมทิลลีนไดออกซีเฟนิล-2-โปรปาโนน 3,4-METHYLENEDIOXYPHENYL-2-PROPANONE

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)

12

เมทิล แอลฟา-ฟีนิลแอซีโทอาเซเตต Methyl alpha-phenylacetoacetate (MAPA)

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)/
Amphetamine

13

นอร์อีเฟดรีน NOREPHEDRINE

พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559

(วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

14

เอ็น-เฟนเอทิล-4-ไพเพอริโดน N-Phenethyl-4-piperidone (NPP)

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิต Fentanyl

15

เฟนิลอาเซติค อาซิด PHENYLACETIC ACID

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

16

1-เฟนิล-2-โปรปาโนน 1-PHENYL-2-PROPANONE

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

17

แอลฟา–ฟีนิลแอซีโทแอเซทาไมด์ alpha-Phenylacetoacetamide (APAA)

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)/Amphetamine

18

แอลฟา–ฟีนิลแอซีโทแอซีโทไนไทรล alpha-Phenylacetoacetonitrile (APAAN)

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

19

ไพเพอโรนอล PIPERONAL

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)

20

โพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนต POTASSIUM PERMANGANATE

พรบ.การส่งไปนอกและการนำเข้ามา
ในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522

กรมการค้าต่างประเทศ

ผลิต Cocaine

21

ซูโดอีเฟดรีน PSEUDOEPHEDRINE

พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559

(วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2)

อย.

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)

22

ซาฟรอล SAFROLE

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

(ยาเสพติดประเภท 4)

อย.

ผลิตยาอี (Ecstasy)



ตารางที่ 2. เคมีภัณฑ์จำเป็น


ที่

ชื่อสารเคมี

กฎหมายที่ควบคุม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

การนำไปใช้ในทางที่ผิด

1

อาเซโตน ACETONE     

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

กรมโรงงานฯ

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)/Cocaine/Heroin

2

แอนทรานิลิค อาซิด ANTHRANILIC ACID

พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (ยาเสพติดประเภท 4)

 อย.    

ผลิต Methaqualone

3

เอทิล อีเทอร์ ETHYL ETHER

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3) / พรบ. ควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. 2495

กรมโรงงานฯ / กรมการค้าภายใน

ผลิต Heroin/Cocaine

4

ไฮโดรคลอริค อาซิด

HYDROCHLORIC ACID 

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

กรมโรงงานฯ

ผลิตยาบ้า (Methamphetamine)/Cocaine/Heroin

5

เมทิลเอทิลคีโตนMETHYL ETHYL KETONE

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

กรมโรงงานฯ

ผลิต Cocaine

6

ไพเพอริดีน PIPERIDINE

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

กรมโรงงานฯ

ผลิต Phencyclidine

7

ซัลฟูริค อาซิด SULFURIC ACID

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

 กรมโรงงานฯ

ผลิต Cocaine/ยาบ้า (Amphetamine)

8

โทลูอีน TOLUENE

พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (วัตถุอันตรายชนิดที่ 3)

กรมโรงงานฯ

ผลิต Cocaine


รายชื่อสารเคมีที่ควบคุมตามตาราง 1 และ ตาราง 2 ของอนุสัญญาฯ ค.ศ. 1988 อ้างอิงจาก Red List (18th edition, January 2021), https://www.incb.org/incb/en/precursors/Red_Forms/red-list.html


สารเคมีที่ประเทศไทยมีการควบคุมนอกเหนือจากสารเคมีที่ควบคุมตามตาราง 1 และ ตาราง 2
ของอนุสัญญาฯ ค.ศ. 1988


ลำดับ

รายชื่อสารเคมี

ดูรายละเอียด

1

กรดอาเซติก Acetic acid

ดูรายละเอียด

2

อาซีโตไนไตรล์ Acetonitrile

ดูรายละเอียด

3

อาเซติล คลอไรด์ Acetyl chloride

ดูรายละเอียด

4

อัลลิลเบนซีน Allylbenzene

ดูรายละเอียด

5

แอมโมเนียมคลอไรด์ Ammonuim chloride

ดูรายละเอียด

6

แอมโมเนียมฟอร์เมท Ammonium formate

ดูรายละเอียด

7

แอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์ Ammonium hydroxide

ดูรายละเอียด

8

เบนซีน Benzene

ดูรายละเอียด

9

เบนซาลดีไฮด์ Benzyldehyde

ดูรายละเอียด

10

เบนซิลคลอไรด์ Benzyl chloride

ดูรายละเอียด

11

เบนซิลไซยาไนด์ Benzyl cyanide

ดูรายละเอียด

12

เอ็น-บิวทิล อาเซเตด N-Butyl acetate

ดูรายละเอียด

13

เอ็น-บิวทิล แอลกอฮอล์ N-Butyl alcohol

ดูรายละเอียด

14

เซค-บิวทิล แอลกอฮอล์ sec-Butyl alcohol

ดูรายละเอียด

15

กาเฟอีน Caffeine

ดูรายละเอียด

16

แคลเซียมคาร์บอเนต Calcium carbonate

ดูรายละเอียด

17

คลอโรฟอร์ม Chloroform

ดูรายละเอียด

18

โคเดอีน Codeine  (เป็นสารที่ใช้ในการผลิต ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3)

ดูรายละเอียด

19

ไซโคลเฮกเซน Cyclohexane

ดูรายละเอียด

20

เอทิล อาเซเตด Ethyl acetate

ดูรายละเอียด

21

เอทธิลอะมีน Ethylamine

ดูรายละเอียด

22

เอทิลิดีน ไดอาเซเตต Ethylidine diacetate

ดูรายละเอียด

23

ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ Hydrogen peroxide

ดูรายละเอียด

24

เมทิลลีน คลอไรด์ Methylene chloride

ดูรายละเอียด

25

เมทิล ไอโซบิวทิล คีโตน Methyl isobutyl ketone

ดูรายละเอียด

26

ฟอสฟอรัส เพนตะคลอไรด์ Phosphorous pentachloride

ดูรายละเอียด

27

ฟอสฟอรัส ไตรคลอไรด์ Phosphorous trichloride

ดูรายละเอียด

28

โพแทสเซียม ไซยาไนด์ Potassium cyanide

ดูรายละเอียด

29

โซเดียม ไซยาไนด์ Sodium cyanide

ดูรายละเอียด

30

โซเดียม ไฮดรอกไซด์ Sodium hydroxide

ดูรายละเอียด

31

โซเดียม ไฮโปคลอไรท์ Sodium hypochlorite

ดูรายละเอียด

32

ไธโอนิล คลอไรด์ Thionyl chloride

ดูรายละเอียด

33

ไตรคลอโรเอทธิลีน Trichloroethylene

ดูรายละเอียด



สารเคมีที่ต้องเฝ้าระวังตามปฏิญญาเชียงราย 2003 (Chiang Rai Declaration)

ลำดับ

ชื่อสารเคมี

ดูรายละเอียด

1

ซัลฟูริค อาซิด Sulfuric acid

ดูรายละเอียด

2

โทลูอีน Toluene

ดูรายละเอียด

3

อาเซโตน Acetone

ดูรายละเอียด

4

ไฮโดรคลอริค อาซิด Hydrochloric acid

ดูรายละเอียด



ปฏิญญาเชียงราย 2003 »» “5 ชาติ” ประกาศปฏิญญาเชียงรายคุมเข้มสารตั้งต้นผลิตยาเสพติด …  อ่านต่อ